วันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

เอมีน

1. เอมีนเป็นสารอินทรีย์ที่มีสมบัติเป็นเบสและสามารถจำแนกได้เป็นเอมีนปฐมภูมิ (มีสูตรทั่วไปคือR-NH2) ทุติยภูมิ (มีสูตรทั่วไปคือR2N-H)และ ตติยภูมิ (มีสูตรทั่วไปคือR3N)
2. การเรียกชื่อเอมีน
 
2.1 ตามระบบ IUPAC    เป็นคำขึ้นต้นว่า amino- และลงท้ายคำว่า - amine เช่น
 CH3CH2CH2CH2NH2
เรียกว่า butanamine
 HO-CH2CH2CH2-NH2 เรียกว่า 3-aminopropanol
 
2.2 เอมีนส่วนมากเรียกตามชื่อสามัญ เช่น dimethylamine(CH3NHCH3)และ aniline (C6H5NH2)
3. สภาพเบสของเอมีน
  3.1 การเรโซแนนซ์ของอิเลคตรอนบน N-atom เข้าไปในวงแหวนเบนซีนทำให้ aromatic amines มีสภาพเบสอ่อนกว่า aliphatic amines เช่น
 aniline (C6H5NH2)
มีสภาพเบสอ่อนกว่า butanamine (CH3CH2CH2CH2NH2 )
  3.2 ผลเหนี่ยวนำ(inductive effect) และ ผลซเทอร์ริก(steric effect) ทำให้สภาพเบสของเอมีนในน้ำ มีลำดับดังนี้คือ เอมีนทุติยภูมิเป็นเบสแก่กว่าปฐมภูมิ และ ตติยภูมิตามลำดับ
4. ปฏิกิริยาของ เอมีน
 
4.1 การเกิดเกลือของ เอมีน เมื่อ เอมีนทำปฏิกิริยากับกรด เช่น
 
R-NH2 + HCl   RNH3+Cl- 
  
CH3CH2CH2CH2NH2 + HCl   CH3CH2CH2CH2NH3+Cl- 
   CH3CH2CH2CH2NH2 + H2SO4   (CH3CH2CH2CH2NH3+)2 SO42- 

 
4.2 ปฏิกิริยาอัลคิเลชันของเอมีนกับอัลคิลเฮไลด์ เช่น
 
R3N + R-X   R4N+X-
  
(CH3CH2)3N + CH3CH2Cl    (CH3CH2)4N+Cl- 

 
4.3 ปฏิกิริยาของแอซิดคลอไรด์กับเอมีน ให้เอไมด์ เช่น
 
RCOCl + R-NH2 RCONHR  + HCl
  CH3COCl   +  CH3CH2CH2CH2NH2 CH3CONHCH2CH2CH2CH3

 
4.4 ปฏิกิริยาการทดสอบฮินซ์เบอร์กของเอมีน เช่น
การทดสอบฮินซ์เบอร์กของเอมีนปฐมภูมิ (primary amines)
 
C6H5SO2Cl + R-NH2 (primary amine) C6H5SO2NHR (sulfonamide) + HCl
 
C6H5SO2NHR + NaOH [C6H5SO2N-R]Na+  + H2O การทดสอบฮินซ์เบอร์กของเอมีนทุติยภูมิ (secondary amines)
 
C6H5SO2Cl + R2NH (secondary amine)  C6H5SO2NR2 (sulfonamide) + HCl 
 
C6H5SO2NR2  + NaOH (No reaction)
การทดสอบฮินซ์เบอร์กของเอมีนตติยภูมิ (tertiary amines)
 
C6H5SO2Cl + R3N (tertiary amine)  (No reaction)
ตัวอย่างการทดสอบฮินซ์เบอร์ก
 
C6H5SO2Cl + CH3CH2CH2NH2 C6H5SO2NHCH2CH2CH3 + HCl
 
C6H5SO2NHCH2CH2CH3 + NaOH [C6H5SO2N-CH2CH2CH3]Na+  + H2O
 
C6H5SO2Cl + (CH3)2NH  C6H5SO2N(CH3)2 + HCl 
 
C6H5SO2N(CH3)2   + NaOH (No reaction)
 
C6H5SO2Cl + (CH3)3N   (No reaction)

 
4.5 ปฏิกิริยาของเอมีนปฐมภูมิกับกรดไนตรัส (HNO2เตรียมกรดไนตรัสได้จาก HCl และ NaNO2
 
RNH2 (aliphatic amines) + HNO2 อัลกอฮอล์ อัลคีน และก๊าซไนโตรเจน เช่น
 
 CH3CH2CH2NH2 + HNO2 CH3CH2CH2OH  + CH3CH=CH2 + N2

 
 C6H5NH2 (aromatic amines)+ HNO2 ที่อุณหภูมิ0-5 oC C6H5N2+   (diazonium salt)
C6H5N2+   (diazonium salt) ใช้เตรียมสารอื่นๆ    เช่น 
 
ปฏิกิริยา diazonium salt กับน้ำ ;   C6H5N2+   +  H2O (heat) C6H5OH + N2
 
ปฏิกิริยา diazonium salt กับ CuBr ;   C6H5N2+   +  CuBr C6H5Br + N2
 
ปฏิกิริยา diazonium salt กับ CuCl ;   C6H5N2+   +  CuCl C6H5Cl + N2
 
ปฏิกิริยา diazonium salt กับ H3PO2 ;   C6H5N2+   +  H3PO2 C6H6 + N2
  Azo coupling ;   C6H5N2+   +  C6H5OH C6H5N=NC6H4OH
  4.6 ปฏิกิริยา Hofmann elimination เป็นปฎิกิริยาของ quaternary ammonium hydroxide เปลี่ยนเป็น อัลคีน
 R4N+X-  +   Ag2O
R4N+OH-  +   AgX  R4N+OH- (quaternary ammonium hydroxide) heat amines  +   alkene  +   H2O
 (CH3)3N+CH2CH2CH3  ,Br- +   Ag2 (CH3)3N+CH2CH2CH3 ,OH- +   AgBr
  (CH3)3N+CH2CH2CH3 ,OH-
heat (CH3)3N  +  CH2=CHCH3 +   H2O

1.  สูตรทั่วไปของอีเทอร์ (Ethers) คือ R-O-R
2. การเรียกชื่ออีเทอร์ (Ethers)
 
2.1 เรียกตามระบบ IUPAC ให้เรียกเป็นหมู่ prefix ว่า หมู่ alkoxy- เช่น  
methoxy-  (CH3O-)  
และ ethoxy-  (CH3CH2O-)
 
2.2 เรียกชื่อสามัญของอีเทอร์ (Ethers) ให้เรียกหมู่อัลคิลที่ต่ออยู่กับ O-atom แล้วลงท้ายด้วย ether เช่น
ethyl methyl ether (CH3CH2OCH3)
diethyl ether (CH3CH2OCH2CH3)
3. อีเทอร์ไม่ว่องไวต่อปฏิกิริยาทางเคมี สำหรับปฏิกิริยาที่เกิดกับอีเทอร์ได้แก่
  
3.1 ปฏิกิริยาของอีเทอร์กับ HI หรือ HBr ที่เข้มข้นและร้อน เช่น
   ROR + HI 
 RI + ROH
และถ้าใช้ HIมากเกินพอ (excess) ROHจะเกิดปฏิกิริยาต่อเป็น RI
  ROH + HI 
 RI + H2Oเช่น
  
(CH3)3C-O-C(CH3)3 + HBr มากเกินพอ(excess) (CH3)3C-Br (2 moles)

  
3.2 ปฏิกิริยาของอีเทอร์กับออกซิเจนให้สารประกอบ hydroperoxide (ROOH)เช่น
  
CH3-O-CH3 + O2 มากเกินพอ(excess) CH3-O-CH2-O-O-H
4. อีพอกไซด์(Epoxides)  เป็นอีเทอร์วงแหวนมีสมาชิกในวงเท่ากับ  3  อะตอม   เนื่องจากความเครียดในวงแหวนจึงเกิดปฏิกริยาเคมีได้ว่องไวกว่าอีเทอร์ที่เป็นโซ่เปิด

 
4.1 ปฏิกิริยาเคมีของ Epoxides แบบ :  SN1 like ปฏิกิริยาส่วนมากอยู่ในสภาวะ acidic และ O ถูก protonated กลายเป็น leaving group ตัวอย่าง Neutral nucleophiles : ที่ปฏิกิริยาใช้กรด เป็น catalysts ได้แก่ น้ำ (H2O) แอลกอฮอล์ (ROH) และ เอมีน (R-NH2 )
เช่น ปฏิกิริยาเปิดวงด้วย ด้วย น้ำ ในกรด
   + H2O / H +     HO-CH2CH2OH 
เช่น ปฏิกิริยาเปิดวง ด้วย แอลกอฮอล์ในกรด  
 + CH3OH / H +     CH3O-CH2CH2OH 
  4.2 ปฏิกิริยาเคมีของ Epoxides แบบ :  SN2 ปฏิกิริยาส่วนมากอยู่ในสภาวะ basic และ nucleophiles มักเป็น anions หรือ strong nucleophile
เช่น ปฏิกิริยาเปิดวงด้วย Grignard reagent (RMgX) เช่น CH3MgBr
 +  CH3MgBr then H2O  / H +       CH3-CH2CH2OH   
เช่น ปฏิกิริยาเปิดวงด้วย hydride anion เช่น Lithiumaluminiumhydride (LiAlH4)
 +  LiAlH4 then H2O  / H +       H-CH2CH2OH 
เช่น ปฏิกิริยาเปิดวงด้วยเกลือของแอลกอฮอล์ เช่น Sodium ethoxide (CH3CH2O-Na+)
 +  CH3CH2O-Na+ then H2O  / H +       CH3CH2O-CH2CH2OH

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น