http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
http://ocw.mit.edu/index.htm
วันจันทร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
Heterocyclic
สารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (Heterocyclic compounds )
โมเลกุลที่เป็นวงแหวนที่มีอะตอมในวงที่มีอะตอมอื่นที่ไม่ใช่คาร์บอนอะตอมอยู่ในวงด้วย สารประกอบเฮเทอโรไซคลิกแบ่งตามโครงสร้างได้ 2 แบบ
1. Aliphatic heterocyclic compounds สารที่เป็นวง (cyclic) ที่มีอะตอมอื่นนอกจากคาร์บอน สมบัติทางเคมีส่วนใหญ่เหมือนกับสารที่เป็นโซ่เปิด (acyclic) เช่น lactones กับ acyclic esters หรือ lactames กับ acyclic amides และ cyclic ethers กับ acyclic ethers
2. Aromatic heterocyclic compounds สารที่เป็นวง (cyclic) และมีสมบัติเป็นอะโรมาติก (Aromaticity) จะมีสมบัติทางเคมีที่ต่างจาก Aliphatic heterocyclic compounds และ แบ่งตามโครงสร้างที่สำคัญได้แก่ 5-membered aromatic heterocyclics , 6-membered aromatic heterocyclics และ Fuses-ring aromaic heterocyclics
Aromatic heterocyclics compounds ที่มีวงแหวน 1 วงสามารถจำแนกเป็น 2 กลุ่ม
1. Pi electron excesscive heteroaromatic compounds ได้แก่พวก 5-membered aromatic heterocyclics เนื่องจาก hetero atom ในวงของสารกลุ่มนี้ ทำให้ความหนาแน่นของอิเลคตรอนของ C-atom เพิ่มขึ้น ได้แก่ Pyrrole , Furan และ Thiophene
2. Pi electron deficient heteroaromatic compounds ได้แก่พวก 6-membered aromatic heterocyclics เนื่องจาก hetero atom ในวงของสารกลุ่มนี้ ทำให้ความหนาแน่นของอิเลคตรอนของ C-atom ลดลง ได้แก่ Pyridine และ Pyrimidine
Indole (โครงสร้างมีวงแหวน benzeneต่อกับวงแหวน 5-membered aromatic heterocyclics) วง pyrrole เกิด ปฏิกิริยาแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ได้รวดเร็วกว่าวง Benzene ปฏิกิริยาการแทนที่ของ Indole อิเลคโตรไฟล์จะเข้าแทนที่ H-atom บนวง pyrrole ที่ C-3 (เนื่องจากวง pyrroleมีความหนาแน่นของอิเลคตรอน มากกว่า และให้ intermediated cation ทีเสถียรมากที่สุด) เช่น ปฏิกิริยา Bromination
โมเลกุลที่เป็นวงแหวนที่มีอะตอมในวงที่มีอะตอมอื่นที่ไม่ใช่คาร์บอนอะตอมอยู่ในวงด้วย สารประกอบเฮเทอโรไซคลิกแบ่งตามโครงสร้างได้ 2 แบบ
1. Aliphatic heterocyclic compounds สารที่เป็นวง (cyclic) ที่มีอะตอมอื่นนอกจากคาร์บอน สมบัติทางเคมีส่วนใหญ่เหมือนกับสารที่เป็นโซ่เปิด (acyclic) เช่น lactones กับ acyclic esters หรือ lactames กับ acyclic amides และ cyclic ethers กับ acyclic ethers
2. Aromatic heterocyclic compounds สารที่เป็นวง (cyclic) และมีสมบัติเป็นอะโรมาติก (Aromaticity) จะมีสมบัติทางเคมีที่ต่างจาก Aliphatic heterocyclic compounds และ แบ่งตามโครงสร้างที่สำคัญได้แก่ 5-membered aromatic heterocyclics , 6-membered aromatic heterocyclics และ Fuses-ring aromaic heterocyclics
Aromatic heterocyclics compounds ที่มีวงแหวน 1 วงสามารถจำแนกเป็น 2 กลุ่ม
1. Pi electron excesscive heteroaromatic compounds ได้แก่พวก 5-membered aromatic heterocyclics เนื่องจาก hetero atom ในวงของสารกลุ่มนี้ ทำให้ความหนาแน่นของอิเลคตรอนของ C-atom เพิ่มขึ้น ได้แก่ Pyrrole , Furan และ Thiophene
2. Pi electron deficient heteroaromatic compounds ได้แก่พวก 6-membered aromatic heterocyclics เนื่องจาก hetero atom ในวงของสารกลุ่มนี้ ทำให้ความหนาแน่นของอิเลคตรอนของ C-atom ลดลง ได้แก่ Pyridine และ Pyrimidine
Tautomerism ในสารพวก aromatic heterocyclics
Tautomerism เกิดกับ alpha-Hydrogen ได้ในโครงสร้างของ -NH-C=O หรือ ของ -CH-C=N หรือ ของ -CH-C=S หรือ ของ -NH-C=N สาร aromatic heterocyclics บางชนิดอาจมีโครงสร้าง tautomer ได้หลายแบบ สามารถตรวจว่ามีโครงสร้างแบบใดได้จาก IR , UV หรือ NMR
Tautomerism เกิดกับ alpha-Hydrogen ได้ในโครงสร้างของ -NH-C=O หรือ ของ -CH-C=N หรือ ของ -CH-C=S หรือ ของ -NH-C=N สาร aromatic heterocyclics บางชนิดอาจมีโครงสร้าง tautomer ได้หลายแบบ สามารถตรวจว่ามีโครงสร้างแบบใดได้จาก IR , UV หรือ NMR
ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ที่คาร์บอน(Electrophilic substitution) ของ 5-membered aromatic heterocyclics
pyrrole , furan และ thiophene เป็นพวก Pi e-excesscive heteroaromatic compounds จึงมีสมบัติทางเคมี เหมือนกับ benzene ที่มีหมู่ Activated เช่น Phenol และ Aniline คือเกิดปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ได้อย่างรวดเร็ว ปฏิกิริยาการแทนที่จะเกิดแทนที่ H-atomที่ C-2 หรือ 4 (ตำแหน่งที่ต่อจาก hetero atom) เนื่องจากการแทนที่ H ด้วย electrophile ที่ C-2 หรือ 4 ให้ intermediated cation ทีเสถียรมากกว่าการแทนที่ H ด้วย electrophile ที่ C-3 หรือ 5
ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ที่คาร์บอน (Electrophilic substitution) ของ 6-membered aromatic heterocyclicspyrrole , furan และ thiophene เป็นพวก Pi e-excesscive heteroaromatic compounds จึงมีสมบัติทางเคมี เหมือนกับ benzene ที่มีหมู่ Activated เช่น Phenol และ Aniline คือเกิดปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ได้อย่างรวดเร็ว ปฏิกิริยาการแทนที่จะเกิดแทนที่ H-atomที่ C-2 หรือ 4 (ตำแหน่งที่ต่อจาก hetero atom) เนื่องจากการแทนที่ H ด้วย electrophile ที่ C-2 หรือ 4 ให้ intermediated cation ทีเสถียรมากกว่าการแทนที่ H ด้วย electrophile ที่ C-3 หรือ 5
pyridine เป็นพวก Pi e-deficient heteroaromatic compounds จึงมีสมบัติทางเคมีของ เหมือนกับ benzene ที่มีหมู่ deactivated เช่น Nitrobenzene คือเกิดปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ได้อย่างช้ามาก และใช้อุณหภูมิสูง เนื่องจากความหนาแน่นอิเลคตรอนในวงลดลง(resonance structures) ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ที่คาร์บอนของ pyridine electrophile จะเกิดแทนที่ H-atomที่ C-3 การแทนที่ H ที่ C-3 ให้ intermediated cation ทีเสถียรมากที่สุด เช่น ปฏิกิริยา Bromination , Nitration และ Sulfonation
ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ ของ Quinoline และIsoquinoline (Fused-ring aromatic heterocyclics)
Quinoline และ Isoquinoline (โครงสร้างมีวงแหวน benzene ต่อกับวงแหวน 6-membered aromatic heterocyclics) วง benzene เกิดปฏิกิริยาแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ได้เร็วกว่า วง Pyridine โดยปฏิกิริยาการแทนที่ของ Quinoline และ Isoquinoline อิเลคโตรไฟล์จะเข้าแทนที่ H-atom บนวง เบนซีน ที่ C-5 และ C-8 (เนื่องจากวง Pyridine มีความหนา แน่นอิเลคตรอนน้อยกว่า และให้ intermediated cation ที เสถียรมากกว่า) เช่น ปฏิกิริยา Bromination และ Nitration
ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ ของ Indole (Fused-ring aromatic heterocyclics)ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ ของ Quinoline และIsoquinoline (Fused-ring aromatic heterocyclics)
Quinoline และ Isoquinoline (โครงสร้างมีวงแหวน benzene ต่อกับวงแหวน 6-membered aromatic heterocyclics) วง benzene เกิดปฏิกิริยาแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ได้เร็วกว่า วง Pyridine โดยปฏิกิริยาการแทนที่ของ Quinoline และ Isoquinoline อิเลคโตรไฟล์จะเข้าแทนที่ H-atom บนวง เบนซีน ที่ C-5 และ C-8 (เนื่องจากวง Pyridine มีความหนา แน่นอิเลคตรอนน้อยกว่า และให้ intermediated cation ที เสถียรมากกว่า) เช่น ปฏิกิริยา Bromination และ Nitration
Indole (โครงสร้างมีวงแหวน benzeneต่อกับวงแหวน 5-membered aromatic heterocyclics) วง pyrrole เกิด ปฏิกิริยาแทนที่ด้วยอิเลคโตรไฟล์ได้รวดเร็วกว่าวง Benzene ปฏิกิริยาการแทนที่ของ Indole อิเลคโตรไฟล์จะเข้าแทนที่ H-atom บนวง pyrrole ที่ C-3 (เนื่องจากวง pyrroleมีความหนาแน่นของอิเลคตรอน มากกว่า และให้ intermediated cation ทีเสถียรมากที่สุด) เช่น ปฏิกิริยา Bromination
http://www.champa.kku.ac.th/arayan/butframe.html
http://www.champa.kku.ac.th/arayan/butframe.html
วันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
กรดคาร์บอกซิลิก
1. กรดคาร์บอกซิลิกเป็นสารอินทรีย์ที่มีหมู่คาร์บอกซิล(-COOH) มีสูตรทั่วไปคือ R-COOH
2. การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก
2.1 เรียกตามระบบ IUPAC ลงท้ายด้วย -oic acid เช่น HCOOH เรียกว่า methanoic acid และ CH3CH2CH2CH2COOH เรียกว่า pentanoic acid
2.2 กรดคาร์บอกซิลิกส่วนมากเรียกตามชื่อสามัญ เช่น กรดมด(formic acid;HCOOH) และ กรดอะซิติก(acetic acid;CH3COOH)
3. สภาพกรดของกรดคาร์บอกซิลิก
3.1 ผลของเรโซแนนซ์ (resonance effect) กรดคาร์บอกซิลิกมีสภาพกรดสูงกว่าอัลกอฮอล์ เนื่องจากกรดคาร์บอกซิลิก สลายตัวให้ H+ และคาร์บอกซิเลตแอนไอออน (RCOO-) ที่เสถียรเนื่องจากเกิดเรโซแนนซ์ ระหว่างออกซิเจนอะตอม
RCOOH RCOO- + H+
3.2 ผลเหนี่ยวนำ(inductive effect) จะมีผลเมื่อกลุ่มอะตอมที่เหนี่ยวนำดึง อิเลคตรอนอยู่ใกล้หมู่คาร์บอกซิล ทำให้กรดคาร์บอกซิลิกมีสภาพกรดสูงขึ้น เช่น กรดไตรคลอโรอะซิติก (CCl3COOH) มีสภาพกรดสูงกว่ากรดอะซิติก เนื่องจาก inductive effect ของคลอรีนอะตอม
4. ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิก
4.1 ปฏิกิริยาการเกิดเกลือของกรดคาร์บอกซิลิก เมื่อกรดคาร์บอกซิลิกทำปฏิกิริยากับเบส เช่นNaOH และ Na2CO3 จะให้เกลือของกรดคาร์บอกซิลิก
RCOOH + NaOH RCOO-Na+ + H2O
RCOOH + Na2CO3 RCOO-Na+ + H2O + CO2
HCOOH + Na2CO3 HCOO-Na+ + H2O + CO2
4.2 ปฏิกิริยารีดักชันของกรดคาร์บอกซิลิกด้วย LiAlH4 แล้วทำปฏิกิริยาต่อกับน้ำ ให้อัลกอฮอล์ปฐมภูมิ เช่น
RCOOH + LiAlH4 RCH2OH
CH3COOH + LiAlH4 CH3CH2OH
4.3 ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิกกับไทโอนิลคลอไรด์(SOCl2)ให้แอซิดคลอไรด์ เช่น
RCOOH + SOCl2 RCOCl + SO2 + HCl
CH3CH2COOH + SOCl2 CH3CH2COCl + SO2 + HCl
4.4 ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิกกับอัลกอฮอล์โดยมีกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาให้เอสเทอร์(Fisher Esterification) เช่น
RCOOH + ROH RCOOR + H2O
CH3CH2COOH + CH3OH CH3CH2COOCH3 + H2O
4.5 ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิกกับเอมีนโดยให้ความร้อนให้เอไมด์ เช่น
RCOOH + RNH2 RCONHR + H2O
CH3CH2COOH + CH3NH2 CH3CH2CONHCH3 + H2O
5. อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid derivatives) เป็นสารที่ทำปฏิกิริยากับน้ำแล้วจะให้กรดคาร์บอกซิลิก อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิกได้แก่ แอซิดเฮไลด์(RCOCl) เช่น CH3CH2COCl (propanoyl chloride) แอซิดแอนไฮไดรด์ (RCO-O-COR) เช่น CH3CH2CO-O-COCH2CH3 (propanoic anhydride)
เอสเทอร์(RCOOR) เช่น CH3CH2COOCH3 (methyl propanoate) และเอไมด์ (RCONHR) เช่น CH3CH2CONHCH3 (N - methyl propanamide)
2. การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก
2.1 เรียกตามระบบ IUPAC ลงท้ายด้วย -oic acid เช่น HCOOH เรียกว่า methanoic acid และ CH3CH2CH2CH2COOH เรียกว่า pentanoic acid
2.2 กรดคาร์บอกซิลิกส่วนมากเรียกตามชื่อสามัญ เช่น กรดมด(formic acid;HCOOH) และ กรดอะซิติก(acetic acid;CH3COOH)
3. สภาพกรดของกรดคาร์บอกซิลิก
3.1 ผลของเรโซแนนซ์ (resonance effect) กรดคาร์บอกซิลิกมีสภาพกรดสูงกว่าอัลกอฮอล์ เนื่องจากกรดคาร์บอกซิลิก สลายตัวให้ H+ และคาร์บอกซิเลตแอนไอออน (RCOO-) ที่เสถียรเนื่องจากเกิดเรโซแนนซ์ ระหว่างออกซิเจนอะตอม
RCOOH
3.2 ผลเหนี่ยวนำ(inductive effect) จะมีผลเมื่อกลุ่มอะตอมที่เหนี่ยวนำดึง อิเลคตรอนอยู่ใกล้หมู่คาร์บอกซิล ทำให้กรดคาร์บอกซิลิกมีสภาพกรดสูงขึ้น เช่น กรดไตรคลอโรอะซิติก (CCl3COOH) มีสภาพกรดสูงกว่ากรดอะซิติก เนื่องจาก inductive effect ของคลอรีนอะตอม
4. ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิก
4.1 ปฏิกิริยาการเกิดเกลือของกรดคาร์บอกซิลิก เมื่อกรดคาร์บอกซิลิกทำปฏิกิริยากับเบส เช่นNaOH และ Na2CO3 จะให้เกลือของกรดคาร์บอกซิลิก
RCOOH + NaOH
RCOOH + Na2CO3
HCOOH + Na2CO3
4.2 ปฏิกิริยารีดักชันของกรดคาร์บอกซิลิกด้วย LiAlH4 แล้วทำปฏิกิริยาต่อกับน้ำ ให้อัลกอฮอล์ปฐมภูมิ เช่น
RCOOH + LiAlH4
CH3COOH + LiAlH4
4.3 ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิกกับไทโอนิลคลอไรด์(SOCl2)ให้แอซิดคลอไรด์ เช่น
RCOOH + SOCl2
CH3CH2COOH + SOCl2
4.4 ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิกกับอัลกอฮอล์โดยมีกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาให้เอสเทอร์(Fisher Esterification) เช่น
RCOOH + ROH
CH3CH2COOH + CH3OH
4.5 ปฏิกิริยาของกรดคาร์บอกซิลิกกับเอมีนโดยให้ความร้อนให้เอไมด์ เช่น
RCOOH + RNH2
CH3CH2COOH + CH3NH2
5. อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid derivatives) เป็นสารที่ทำปฏิกิริยากับน้ำแล้วจะให้กรดคาร์บอกซิลิก อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิกได้แก่ แอซิดเฮไลด์(RCOCl) เช่น CH3CH2COCl (propanoyl chloride) แอซิดแอนไฮไดรด์ (RCO-O-COR) เช่น CH3CH2CO-O-COCH2CH3 (propanoic anhydride)
เอสเทอร์(RCOOR) เช่น CH3CH2COOCH3 (methyl propanoate) และเอไมด์ (RCONHR) เช่น CH3CH2CONHCH3 (N - methyl propanamide)
6. ปฏิกิริยาของแอซิดเฮไลด์
6.1 ปฏิกิริยาของแอซิดคลอไรด์กับเกลือของกรดคาร์บอกซิลิกให้แอซิดแอนไฮไดรด์ เช่น
RCOCl + RCOO-Na+
CH3COCl + CH3CH2COO-Na+
6.2 ปฏิกิริยาของแอซิดคลอไรด์กับน้ำใหกรดคาร์บอกซิลิก เช่น
RCOCl + H2O
CH3COCl + H2O
6.3 ปฏิกิริยาของแอซิดคลอไรด์กับอัลกอฮอล์ให้เอสเทอร์ เช่น
RCOCl + ROH
CH3COCl + CH3CH2OH
6.4 ปฏิกิริยาของแอซิดคลอไรด์กับเอมีนให้เอไมด์ เช่น
RCOCl + RNH2
CH3COCl + CH3CH2NH2
6.5 ปฏิกิริยารีดักชันด้วยLiAlH4แล้วทำปฏิกิริยาต่อกับน้ำ ให้อัลกอฮอล์ปฐมภูมิ เช่น
RCOCl + LiAlH4
CH3COCl + LiAlH4
7. ปฏิกิริยาของแอซิดแอนไฮไดรด์
7.1 ปฏิกิริยาของแอซิดแอนไฮไดรด์กับน้ำให้กรดคาร์บอกซิลิก 2 โมล เช่น
RCO-O-COR + H2O
7.2 ปฏิกิริยาของแอซิดคลอไรด์กับอัลกอฮอล์ทำให้เป็นกรดให้เอสเทอร์และกรดคาร์บอกซิลิก เช่น
RCO-O-COR + ROH
CH3CO-O-COCH3 + CH3CH2OH
7.3 ปฏิกิริยาของแอซิดคลอไรด์กับเอมีนเมื่อทำให้เป็นกรดจะให้เอไมด์และกรดคาร์บอกซิลิก เช่น
RCO-O-COR + RNH2
CH3CO-O-COCH3 + CH3CH2NH2
7.4 ปฏิกิริยารีดักชันด้วยLiAlH4แล้วทำปฏิกิริยาต่อกับน้ำ ให้อัลกอฮอล์ปฐมภูมิ 2 โมล เช่น
RCO-O-COR + LiAlH4
CH3CO-O-COCH3 + LiAlH4
8. ปฏิกิริยาของเอสเทอร์
8.1 ปฏิกิริยาของเอสเทอร์กับน้ำในสภาวะกรด ให้กรดคาร์บอกซิลิกและอัลกอฮอล์ เช่น
RCOOR/ + H2O/H+
CH3CH2COOCH3 + H2O/H+
8.2 ปฏิกิริยาของเอสเทอร์กับน้ำในสภาวะเบส(Saponification)ให้เกลือของกรดคาร์บอกซิลิกและอัลกอฮอล์ เช่น
RCOOR/ + H2O/NaOH
CH3CH2COOCH3 + H2O/NaOH
8.3 ปฏิกิริยารีดักชันด้วยLiAlH4 แล้วทำปฏิกิริยาต่อกับน้ำให้อัลกอฮอล์ 2 โมล คือส่วนที่มาจากกรดคาร์บอกซิลิก และส่วนที่มาจากอัลกอฮอล์ เช่น
RCOOR/ + LiAlH4
CH3COOCH2CH3 + LiAlH4
9. ปฏิกิริยาของเอไมด์
9.1 ปฏิกิริยาของเอไมด์กับน้ำในสภาวะกรดให้กรดคาร์บอกซิลิกและเกลือของเอมีนหรือเกลือแอมโมเนียม เช่น
RCONH2 + H2O/H+
CH3CH2CONHCH3 + H2O/H+
9.2 ปฏิกิริยาของเอไมด์ปฐมภูมิกับน้ำในสภาวะเบสให้เกลือของกรดคาร์บอกซิลิกและแอมโมเนีย เช่น
RCONH2 + H2O/NaOH
CH3CH2CONH2 + H2O/NaOH
CH3CH2CONHCH2CH3 + H2O/NaOH
CH3CH2CONH(CH3)2 + H2O/NaOH
9.3 ปฏิกิริยารีดักชันด้วยLiAlH4 แล้วทำปฏิกิริยาต่อกับน้ำให้เอมีน เช่น
RCONH2 + LiAlH4
CH3CH2CONHCH2CH3 + LiAlH4
CH3CH2CONH(CH3)2 + LiAlH4
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)