คู่กรด-เบส (conjugate acid-base pair)
การให้และรับโปรตอนจะเกิดคู่กรด-เบส (conjugate acid-basepair) กล่าวคือ เมื่อกรดให้H+
ไปกลายเป็นเบส เรียกว่า กรด กับคู่เบส (conjugate base )หรือเมื่อเบสรับ H+ จะกลายเป็น
กรด จะเรียกว่าเบส กับคู่กรด (conjugate acid )
การให้และรับโปรตอนจะเกิดคู่กรด-เบส (conjugate acid-basepair) กล่าวคือ เมื่อกรดให้H+
ไปกลายเป็นเบส เรียกว่า กรด กับคู่เบส (conjugate base )หรือเมื่อเบสรับ H+ จะกลายเป็น
กรด จะเรียกว่าเบส กับคู่กรด (conjugate acid )
เมื่อพิจารณาปฏิกิริยาไปข้างหน้า
คู่เบส ของกรด ตามทฤษฎีคือ สารที่เกิดขึ้นจากการที่กรดให้โปรตอนไปแล้ว เช่น
คู่กรด ของเบส ตามทฤษฎีสารที่เกิดขึ้นจากการที่เบสรับโปรตอนไปแล้ว
กรดแก่ จะมีคู่เบสอ่อน และกรดอ่อน จะมีคู่เบสแก่
-เบส พบว่ากรดทุกตัวจะมีคู่เบส และ เบสทุกตัวจะมีคู่กรด เช่น
ตามนิยามคู่กรด
แอมฟิโปรติก (Amphiprotic)
น้ำสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ด้วยตัวเอง (Autoionization)โดยที่น้ำเป็นทั้งสารที่ให้และ
รับโปรตอน ดังสมการ
แอมโฟเทอริก(Amphotheric)
ตามทฤษฎีของเบรินสเตด-ลาวรีน้ำมีสมบัติเป็นได้ทั้งกรด (น้ำ+NH3) หรือเบส
(น้ำ+CH3COOH) ซึ่งขึ้นกับสารที่เข้าทำปฏิกิริยาสมบัติดังกล่าวนี้เรียกว่า แอมโฟเทอริก
ข้อจำกัดของทฤษฎีเบรินสเตด-ลาวรี
ข้อจำกัดของทฤษฎีเบรินสเตด-ลาวรี
ตามทฤษฎีของเบรินสเตด-ลาวรีสารที่มีสมบัติเป็นกรดต้องมีอะตอมของไฮโดรเจน เพราะต้องให้โปรตอน(H+) ซึ่งอาจเป็นโมเลกุล เช่น HCl . H2O , NH3 และ CH3COOH เป็นต้น หรือเป็นไอออนบวก เช่น NH4+ หรือ ไอออนลบ เช่น HSO4- ,HCO3- เป็นต้น แต่
ปรากฎว่าทฤษฎีของเบรินสเตด-ลาวรีไม่สามารถอธิบาย กรดบางชนิดที่ไม่มีอะตอมของไฮโดรเจน หรือไม่ให้โปรตอน เช่น BF3 กรดบอริก B(OH)3
ปรากฎว่าทฤษฎีของเบรินสเตด-ลาวรีไม่สามารถอธิบาย กรดบางชนิดที่ไม่มีอะตอมของไฮโดรเจน หรือไม่ให้โปรตอน เช่น BF3 กรดบอริก B(OH)3
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น