วันศุกร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2553

สมดุลของไอออนในสารละลาย

สมดุลของไอออนในสารละลาย 
 
  สารหรือตัวถูกละลายที่ละลายโดยมีที่น้ำเป็นตัวทำละลาย ถ้าแบ่งตามสมบัติการนำไฟฟ้าของสาร จะแบ่งได้2 ชนิดคือ


1. สารอิเล็กโทรไลต์(Electrolyte) เป็นสารที่ละลายน้ำแล้วจะนำไฟฟ้าได้เนื่องจากมีการแตกตัวให้ไอออน


2. สารอิเล็กโทรไลต์(Electrolyte) เป็นสารที่ละลายน้ำแล้วจะนำไฟฟ้าได้เนื่องจากมีการแตกตัวให้ไอออน

สารละลายอิเล็กโทรไลต์จะแบ่งออกเป็น


1.สารละลายอิเล็กโทรไลต์แรง (Strong Electrolyte) เป็นสารละลายที่นำไฟฟ้าได้ดีเพราะเมื่อสารละลายน้ำแล้วแตกตัวได้มาก ได้แก่ กรดแก่เบสแก่เกลือบางชนิด

2.สารละลายอิเล็กโทรไลต์อ่อน (Weak Electrolyte)เป็นสารละลายที่นำไฟฟ้าได้น้อย เพราะเมื่อสารละลายน้ำแล้วแตกตัวได้น้อย ได้แก่ กรดอ่อน เบสอ่อน เกลือบางชนิด


การแตกตัวเป็นไอออนของน้ำ 



น้ำจัดเป็นสารอิเล็กโตรไลต์อ่อน แตกตัวได้เล็กน้อย จะแตกตัวเป็นไอออนได้ดังนี้

                                                             +              -
                                               H2O(l) H (aq) + OH (aq)
                                                                    
                                                                +       -
                                                   Kw = [H ][OH ] 
                             
                        Kw เรียกว่า ค่าคงที่ของการแตกตัวของน้ำที่สภาวะสมดุล
                                         -        -7
ดังนั้นน้ำบริสุทธิ์ [H ] =  [OH ] = 10      
  
                                         -14
พบว่า ที่ 298 K , K= 10
                              

สภาพความเป็นกรดของน้ํ้ำ

        

พบว่า
          +            -                 -7
ถ้า [H ] > [OH ] > 1.0 x 10 mol/L สารละลายมีสภาพเป็นกรด
          +            -                 -7
ถ้า [H ] = [OH ] = 1.0 x 10 mol/L สารละลายมีสภาพเป็นกลาง
          +            -                 -7
ถ้า [H ] < [OH ] < 1.0 x 10 mol/L สารละลายมีสภาพเป็นเบส

                             +                -                                                                        -14    
และผลคูณของ[H ] และ [OH ] ในสารละลายจะได้เท่ากับ Kหรือ 1.0 x 10 เสมอ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น