ทฤษฎีกรด-เบสเบรินสเตด-ลาวรี (Bronsted-Lowry Theory)
1.กรด เป็นสารที่ให้โปรตอนกับสารอื่น หรือ proton donor
2.เบส เป็นสารที่รับโปรตอนจากสารอื่น หรือ proton acceptor
นิยามกรด-เบสเบรินสเตด-ลาวรี คือ การถ่ายโอนH+ และ ในปฏิกิริยาจะมีทั้งสารที่ให้และสาร
ที่รับ H+ กล่าวคือเมื่อมีสารที่ให้ H+ (กรด) ก็จะมีสารที่รับ H+ (เบส) เช่น
ที่รับ H+ กล่าวคือเมื่อมีสารที่ให้ H+ (กรด) ก็จะมีสารที่รับ H+ (เบส) เช่น
ทฤษฎีกรด-เบสเบรินสเตด-ลาวรี เป็นนิยามที่สามารถอธิบายสารที่มีสมบัติเป็นกรด-เบสได้
มากกว่าใช้ทฤษฎีของอาร์เรเนียส กล่าวคือ
1.อธิบายสมบัติเป็นกรด-เบส ได้ไม่จำกัดว่าสารนั้นจะมีน้ำเป็นตัวทำละลายหรือไม่
2.อธิบายได้ว่า สารที่แสดงสมบัติเป็นกรดในสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย คือ ไฮโดร
เนียมไอออน(H3O+)
1.อธิบายสมบัติเป็นกรด-เบส ได้ไม่จำกัดว่าสารนั้นจะมีน้ำเป็นตัวทำละลายหรือไม่
2.อธิบายได้ว่า สารที่แสดงสมบัติเป็นกรดในสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย คือ ไฮโดร
เนียมไอออน(H3O+)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น